วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554

การใช้กริยาเพื่อให้สุภาพมากขึ้น

กริยาที่ใช้ในการตั้งคำถามเพื่อนให้สุภาพมากขึ้น

-could you....,please?
-Could I disturb you for a moment?
-May I "..........................................."
-Might I ".........................................."
-Would you like to....?



สำนวณอื่นๆ ที่ใช้แสดงความสุภาพ
-I don't quite understand.
-I don't really like this music.
-I'm afraid I don't know.

วันจันทร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2554

Politeness.

มีหลายวิธีพูดภาษาอังกฤษให้ดูสุภาพและหลีกเลี่ยงการพูดที่ดูห้วนเกินไป
วิธีการพูดให้ดูสุภาพ 2 ประเด็นใหญ่ๆ ดังนี้

   - การแสดงออกทางหน้าตาและน้ำเสีงของผู้พูดจะมีส่วนในการสร้างความประจำใจเป็นอย่างยิ่ง การพูดที่ถือว่าไม่ค่อยสุภาพหรือห้วน เกินไปจะสามารถทำให้ "อ่อนลง" ได้โดยการยิ้มอย่างเป็นมิตร และ การใช้น้ำเสียงที่น่าฟัง

   - เมื่อคุณพูดภาษาต่างประเทศ ผู้อื่นจะยินดีที่จะมองข้ามสำนวนที่คุณ พูดแล้วไม่สุภาพ ในขณะที่ผู้พูดเป็นเจ้าของภาษาเองจะดูไม่สุภาพเลย

   วิธีต่อไปนี้เป็นข้อแนะนำที่คุณจะสามาถทำให้คำพูดของคุณฟังดูสภาพ

1. ใช้คำว่า Please หรือคำถามที่ขึ้นต้นด้วย Clould you....? ดีกว่าใช้ประโยคคำสั่ง เมื่อต้องการขอร้องใครบางคนให้ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด

2. ใช้คำถามที่เริ่มต้นด้วย Could I...? May I...?  หรือ Might I...? ดีกว่าคำถามที่เริ่มต้นด้วย Can I...? เมื่อต้องการขออนุญาต

3. ใช้สำนวน I'd rather you didn't. ดีกว่า Yes, I do mind. เมื่อต้องการที่จะไม่อนุญาตให้คนอื่นทำในสิ่งที่เขาขอร้องด้วยคำถามที่ขึ้นต้นว่า Do you mind if I...?

4. ใช้รูปกริยา will be..ing ดีกว่า going to หรือ present continuous เมื่อต้องการถามถึ่งสิ่งที่คนอื่นจะทำในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจะต้องการขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น

5. กับคนที่คูไม่รู้จักดีควรใช้สำนวนที่เป็นทางการดีกว่าสำนวนที่เป็นกันเอง

6. ใช้สำนวนเพื่อทำให้สิ่งที่คุณพูดนั้นดูอ่อนโยน

7. คุณทราบแล้วว่า จะใช้กริยารูปอดีตกาล (past tense) แทนรูปปัจจุบันกาล (present tense) ในคำถามเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น Who did you want to speak to ?

วันพฤหัสบดีที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2554

สรุปการใช้ any และ anything ในประโยคบอกเล่า

การใช้ some/something และ any/anything สรุปสั้นๆ ได้ดังนี้


1. ความแตกต่างที่สำคัญก็คือ some/something จะใช้ในประโยคบอกเล่าและ any/anything ใช้ในประโยคปฏิเสธและประโยคคำถาม 
- Some friends are coming to dinner.
- Some old friends called me the other night.
- Some people will never learn anything.
- Are you doing anything tomorrow evening?


2. ในประโยคคำถามจะใช้ some/something เมื่อคาดหวังว่าจะได้รับคำตอบเห็นด้วยหรือเมื่อผู้พูดต้องการกระตุ้นให้ผู้ฟังยืนตันตอบรับ
- Could we have some bread, please?
- Would you like something to drink?

กฏการใช้เหมือนของ some/something และ any/anything สามารถสังเกตให้ละเอียดขึ้นจากการใช้ any/anything ในรูปประโยคบอกเล่าโดยศึกษาตัวอย่างต่อไปนี้ 
- Take a card. Any card.
หยิบไฟ่หนึ่งใบ ใบไหนก็ได้

คำว่า anything ก็สามารถใช้ในประโยคบอกเล่าได้เช่นเดียวกับการใช้ any  

- I'm really hungry. I'll eat anything.
ฉันหิวมากจริงๆ ฉันจะกินอะไรก้ได้ทั้งนั้น

จากประโยคดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการใช้ any ตามด้วยคำนามมีความหมายว่า "อันไหนก็ได้" และเมื่อใช้ anything ตามลำพังจะมีความหมายว่า "อะไรก็ได้"

ระวังอย่าสับสนการใช้ any/anything กับ no/nothing เปรียบเทียบสุภาษิตต่อไป

- Any publicity is good publicity
การประชาสัมพันธ์อะไรก็ตาม เป็นการประชามสัมพันธ์ที่ดีทั้งนั้น

- No news is good news.
ไม่มีข่าวใดเป็นข่าวดี หรือ อะไรที่ป็นช่าวมักจะเป็นข่าวร้าย 

วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

Latin origins adn Germanic origins.

การใช้คำที่มีความหมายเหมือนกันแต่มีรูปต่างกันคือคำที่มาจากภาษาละดิน (Latin origin) และอีกคำหนึ่งมาจากภาษาเยอรมัน (Germanic origin) ดังนี้


ในภาษาอังกฤษมีคำที่มีความหมายเหมือกันอยู่หลายคำ คือคำที่มาจากภาษาละตินเช่น commence และคำที่มาจากภาษาเยอรมันเช่น start โดยปกติแล้วมักจะใช้คำที่มาจากรากศัพท์ภาษาละตินในสถานการณ์ที่เป็นทางการมากกว่า ตัวอย่างเช่น การประกาศของโรงละครจะใช้คำว่า commence แทนที่จะใช้คำว่า start


เมื่อพูดถึงการใช้กริยา depart และ leave แม้ว่า 2 สำนวนนี้มีความหมายเหมือนกันแต่การพูดกับพนักงานต้อนรับของโรงแรมว่า I'm departing tomorrow. แทนที่จะใช้คำว่า I'm leaving tomorrow. นั้นฟังดูเป็นทางการมากเกินไป แต่เราไม่สามารถกล่าวได้ว่าคำที่มาจากภาษาละตินนั้นจะใช้เฉพาะกับสำนวนภาษาทางการเท่านั้น แต่กล่าวได้ว่าสำนวนภาษาทางการอย่างการประกาศนิยมใช้คำที่มาจากภาษาละตินมากกว่า แม้ว่าจะมีอีกคำหนึ่งที่ใช้ได้


ตารางต่อไปนี้มีความอย่างคำที่มีความหมายเหมือนกันโดย (ด้านบนเป็นคำกริยาและด้านล่างเป็นคำคุณศัพท์)



Latin origin.
Germanic origin.
arrive
get hare, get there
The train now arriving at Platform 12..
What time did you get here?


commence
begin, start
The performance will commence in three minutes.
What time does the filem start?


consult
speak to, ask
If symptoms persist, consult your doctor3
I'll have to speak to my boss.


continue
go on
If flashing continues
Why does the sun go on shining?


depart
leave
The 11.23 to Manchester will depart from Platform 6.
I'm leaving for sweden on Sunday.


insert
put in
Insert money until flashing stops.
Quick! Put in some money!


obtain
get
Where can I obtain the cards?
Where can I get the cards?


reserve
book
I reserved a room
I booked a room.


return
go back, come back
Please return to your seat.
Please go back to your seat.


correct
right
Insert the correct answers.
Put in the right answers.


diffecult
hard
This exercise is quite difficult.
This exercis is quite hard


large
big
Small,medium or large?
London's a big city.


วันศุกร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

คำคุณศัพท์ขั้นสุด

คำคุณศัพท์ที่มีพยางค์เดียวหรือสองพยางค์บางคำทำเป็นรูปขั้นกว่าได้โดยการเติม –er และคำคุณศัพท์ที่มีหลายพยางค์ให้เติม more ข้างหน้า
จากกฏนี้สามารถนำมาใช้ในการสร้างคำคุณศัพท์ขั้นสุดได้โดยตรงนั่นคือ คำคุณศัพท์ที่ทำเป็นขั้นกว่าโดยการเติม –er จะทำเป็นคำคุณศัพท์ขั้นสุดได้โดยการเติม est ส่วนคำคุณศัพท์ที่ทำเป็นขั้นกว่าโดยการเติม more นำหน้าก็สามารถทำให้เป็นคำคุณศัพท์ขั้นสุดได้โดยการเติม most นำหน้าเช่นกัน
คำคุณศัพท์ที่มีพยางค์เดียว
คำคุณศัพท์ที่มีพยางค์เดียวส่วนใหญ่ทำเป็นรูปขั้นกว่าและขั้นสุดได้โดย การเติม –er และ –est ท้ายคำคุณศัพท์ตามลำดับ


could
colder
coldest
new
newer
newest
slow
slower
slowest
small
smaller
smallest



ในบางกรณีต้องเพิ่มอังกษรตัวสุดท้ายเข้าไปอีกหนึ่งตัวก่อนเติม er ให้เป็นคำคุณศัพท์ขั้นกว่าและเติม est ให้เป็นคำคุณศัพทขั้นสุด


big
bigger
biggest
hot
hotter
hottest
fat
fatter
fattest
thin
thinner
thinnest



คำคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย y ถ้าหน้า y เป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยน y เป็น i ก่อนแล้วจึงเติม –er หรือ -est


dry
drier
driest



คำคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย e สามารถเติม r หรือ st ได้เลย


large
larger
largest
late
later
latest
nice
nicer
nicest
wide
wider
widest



และมีคำยกเว้นบางคำเท่านั้นที่ไม่เป็นไปตามกฏดังกล่าว


good
better
best
bad
worse
worst



คำคุณศัพท์ที่มีสองพยางค์
คำคุณศัพท์ที่ลงท้ายด้วย y ให้เปลี่ยน y เป็น I ก่อนแล้วจึงเติม –er หรือ –est เพื่อทำให้เป็นคำคุณศัพท์ขั้นกว่าและขั้นสุดท้ายตามลำดับ


early
earlier
earliest
easy
easier
easiest
sunny
sunnier
sunniest



สำหรับคำอื่นที่เหลือให้ใช้คำว่า more และ most นำหน้าคำคุณศัพท์รูปเดิม


careful
more careful
most careful
famous
more famous
most famous
surprised
more surprised
most surprised



คำคุณศัพท์ที่มี3พยางค์ขึ้นไป
โดยทั่วไปคำคุณศัพท์ที่มี 3 พยางค์ขึ้นไปเป็นขั้นกว่าและขั้นสุดได้โดยใช้คำว่า more และ most หน้าคำคุณศัพท์นั้น
Beautiful
more beautiful
most beautiful
difficult
more difficult
most difficult
interesting
more interesting
most interesting


ยกเว้นเฉพาะคำคุณศัพท์ 3 พยางค์ที่ขึ้นต้นส่วนเติมหน้า (Prefix) un-
unhaapy
unhappier
unhappiest
more unhappy
most unhappy